ความเป็นผู้ใหญ่
เอวเมว มนุสฺเสสุ
ทหโร เจปิ ปญฺญวา
โส หิ ตตฺถ มหา โหติ เนว พาโล สรีรวา ฯ
ในหมู่มนุษย์นั้นไซร้ แม้จะเป็นเด็ก ถ้ามีปัญญา
ก็เป็นผู้ใหญ่ได้
ถึงร่างจะใหญ่โต แต่โง่เขลา ก็เป็นผู้ใหญ่ไม่ได้
(ขุ.ชา. ๒๗/๒๕๔)
ความเป็นผู้ใหญ่ไม่ได้วัดแค่การเกิดก่อน
หรือมีร่างกายเติบใหญ่
การรู้จักกาล รู้จักพูด รู้จักควรไม่ควร
รู้จักให้อภัย ไม่มีอคติลำเอียง
มีดวงปัญญาทำกิจต่าง ๆ ได้สำเร็จลุล่วง
เป็นคุณสมบัติความเป็นผู้ใหญ่
หากผู้ใหญ่ไม่มีคุณสมบัติเช่นนี้
ก็เป็นผู้ใหญ่ไม่ได้
แม้เด็กหากมีคุณสมบัติเหล่านี้
ก็เป็นผู้ใหญ่ในร่างเด็ก
เป็นบุคคลที่น่านับถือ เป็นบุคคลผู้ควรสรรเสริญ
เป็นบัณฑิตที่น่ายกย่อง ตลอดกาลแสนนาน
Cr. อิ่มธรรม
วารสารอยู่ในบุญ ฉบับที่ ๑๖๒ เดือนเมษายน พ.ศ. ๒๕๕๙
คลิกอ่านส่องธรรมล้ำภาษิตของวารสารอยู่ในบุญ ปี พ.ศ. ๒๕๕๙ ตามลิงก์ด้านล่างนี้
น้อยนัก สั้นนัก (ปีก่อนหน้า)
ไม่ละทิ้งธรรม
หยุดยึดมั่น หยุดถือมั่น
บอกกล่าวเล่าทุกข์
อยากได้ลูกดี
พึงทำหน้าที่ตนให้สมบูรณ์
ทำคุณบูชาโทษ
ไม่กลัวปรโลก
ฝึกตนฝึกใจไปนิพพาน
ไม่ใส่ใจสรรเสริญนินทา
เศร้าหมอง-บริสุทธิ์
เพื่อนแท้คือบุญ
ผู้เตือน-ผู้ถูกเตือน (ปีถัดไป)
|
คลิกอ่านส่องธรรมล้ำภาษิตของวารสารอยู่ในบุญ ปี พ.ศ. ๒๕๕๙ ตามลิงก์ด้านล่างนี้
น้อยนัก สั้นนัก (ปีก่อนหน้า)
ไม่ละทิ้งธรรม
หยุดยึดมั่น หยุดถือมั่น
บอกกล่าวเล่าทุกข์
อยากได้ลูกดี
พึงทำหน้าที่ตนให้สมบูรณ์
ทำคุณบูชาโทษ
ไม่กลัวปรโลก
ฝึกตนฝึกใจไปนิพพาน
ไม่ใส่ใจสรรเสริญนินทา
เศร้าหมอง-บริสุทธิ์
เพื่อนแท้คือบุญ
ผู้เตือน-ผู้ถูกเตือน (ปีถัดไป)
ความเป็นผู้ใหญ่
Reviewed by สำนักสื่อธรรมะ
on
03:03
Rating:
ไม่มีความคิดเห็น: